เอกสารประกอบการสอนวิชา ปัญหากฎหมายมหาชน (น. ๗๓๑) กฎหมายรัฐธรรมนูญ (น. ๒๕๑) และ เรียนรัฐธรรมนูญออนไลน์ โดย ปริญญา เทวานฤมิตรกุล (1) ความนำ : ทำไม “ประชาธิปไตย” จึงไม่ประสบความสำเร็จในประเทศไทย นับแต่วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๔๗๕ เมื่อ “คณะราษฎรได้ขอร้องให้อยู่ใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามเพื่อที่บ้านเมืองจะได้เจริญขึ้น” และ “โดยที่ได้ทรงยอมรับตามคำขอร้องของคณะราษฎร” รัชกาลที่ ๗ จึงได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใ...
เราจะใช้มาตรา 7 ในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีได้หรือไม่? (เรียนรัฐธรรมนูญออนไลน์ ตอนที่ 6) "วันนี้เราจะเรียนกันต่อในเรื่องการบังคับให้ ส.ส.สังกัดพรรค และปัญหาของรัฐธรรมนูญ 2550 .. " นักศึกษาคนหนึ่งยกมือ "อาจารย์ครับ วันนี้ขอเรียนเรื่องมาตรา 7 ก่อนได้ไหมครับ" นักศึกษาอีกคนยกมือ "คือพวกเราอยากจะรู้ว่า สถานการณ์ตอนนี้จะใช้มาตรา 7 แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีได้หรือไม่คะ?" "มาตรา 7 เหรอ จะเรียนเรื่องมาตรา 7 ความ...
จุดอ่อนของ 'ระบบรัฐสภา' เราจะแก้ปัญหาอย่างไร? รัฐธรรมนูญฉบับไหนที่เป็นจุดเริ่มต้นของปัญหา? (เรียนรัฐธรรมนูญออนไลน์ ตอนที่ 5) "เนื่องจากระบบ 'รัฐสภา' นายกรัฐมนตรีมาจากเสียงข้างมากของสภาผู้แทนราษฎร ทำให้มีจุดอ่อนในเรื่อง 'การแบ่งแยกอำนาจ' ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร และทำให้เกิดปัญหาอย่างหนึ่งอย่างใดในสองอย่างคือ รัฐบาลเข้มแข็งมากควบคุมเสียงข้างมากในสภาได้หมดจนกลายเป็นเผด็จการ หรือไม่ก็จะได...
ระบบ 'รัฐสภา' ของประเทศไทยมีปัญหาอย่างไรในเรื่อง 'การแบ่งแยกอำนาจ'? (เรียนรัฐธรรมนูญออนไลน์ ตอนที่ 4) "เราได้เรียนเรื่องหลักการพื้นฐานของ 'การแบ่งแยกอำนาจ' กันไปแล้วว่า ทำไม 'ประชาธิปไตย' ต้องแบ่งแยกอำนาจ และทำไมต้องแบ่งแยกอำนาจเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ และแต่ละอำนาจตรวจสอบถ่วงดุลกันอย่างไร" อาจารย์เริ่มต้น "และวันนี้เราจะมาเรียนเรื่อง 'ปัญหาการแบ่งแยกอำนาจ' ของระบบการเมืองของ...
'เรียนรู้' จากหลีเป๊ะ ตอนที่ 2 (ต่อจากตอน 1 เก็บเศษแก้วกันเถอะครับ) เมื่อคราวไปเกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล เดือนที่แล้วผมไปกับที่ทำงานเป็นกลุ่มใหญ่ คนจัดจึงเช่าเหมาเรือทั้งลำ โดยมีไกด์ประจำเรือคอยดูแล ผมสังเกตุว่าเค้าเรียกกันเองระหว่างคนเรือและไกด์ว่า "บังๆ" ผมจึงถามพี่ใบซึ่งเป็นไกด์ที่นั่งอยู่หัวเรือกับผมว่า "เรียกนำหน้าว่า 'บัง' นี่หมายถึงอะไรพี่? เป็นคำนำหน้าสำหรับเรียกคนที่ไปทำพิธีฮัจฉ์มาแล้วใช่ไ...
เรียนรัฐธรรมนูญออนไลน์ ตอนที่ 2 'การแบ่งแยกอำนาจ' ในระบอบประชาธิปไตย ทำไมต้องมี 'ฝ่ายตุลาการ'? "จากบทเรียนเรื่องการแบ่งเค้กในคราวที่แล้ว เราได้เรียนรู้แล้วว่า ประชาธิปไตยต้องมีการแบ่งแยกอำนาจ" อาจารย์เริ่มต้น "เหตุฉะนี้ เราจึงต้องแยกคนออกกฎหมายคือ 'ฝ่ายนิติบัญญัติ' กับคนที่ได้อำนาจจากกฎหมายคือ 'ฝ่ายบริหาร' ออกจากกัน มิเช่นนั้นจะเกิดการออกกฎหมายให้อำนาจและประโยชน์กับตนเอง" อาจารย์หยุดนิดนึงแล้วตั้...
'ประชาธิปไตย' ทำไมจึงต้อง 'แบ่งแยกอำนาจ'? (เรียนรัฐธรรมนูญออนไลน์ ตอนที่ 1) "วิชารัฐธรรมนูญในวันนี้เราจะเรียนเรื่องการแบ่งแยกอำนาจ" อาจารย์เริ่มสอน พออาจารย์เริ่มต้น นักศึกษาก็ก้มหน้าจับปากกาจด 'เล็คเชอร์' กันทันที "การแบ่งแยกอำนาจก็เหมือนการแบ่งเค้กน่ะแหละนักศึกษา" นักศึกษาชะงักการจด 'เล็คเชอร์' และเงยหน้าขึ้นมามองอาจารย์ด้วยสีหน้าฉงน อาจารย์ยิิ้มที่มุมปากแล้วก็เดินไปหา 'สมศักดิ์' ซึ่งนั่งอยู่ข้...
เรื่องของการ 'รีดผ้า' และความเสมอภาคชายหญิง (เรื่องเล่าจากเยอรมันเรื่องที่ 2) ในบรรดางานบ้านทั้งหลาย ดูดฝ่น ถูบ้าน ล้างจาน ขัดห้องน้ำ ซักผ้า รีดผ้า ฯลฯ ท่านคิดว่าอะไรเป็นงานหนักและน่าเบื่อที่สุดครับ? สำหรับผมแล้วไม่มีอะไรที่จะหนักหนาและน่าเบื่อไปกว่าการ 'รีดผ้า' อีกแล้วครับ ผมต้องมารีดผ้าเองก็ตอนไปเรียนต่อเยอรมันเมื่อสิบกว่าปีที่แล้ว พวกนักเรียนไทยที่ไปเรียนต่อเมืองนอก จะดูว่าผู้ชายคนไหนมีภรรยาแล...
ระบอบประชาธิปไตยใครถ่วงดุลฝ่ายตุลาการ? (เรียนรัฐธรรมนูญออนไลน์ ตอนที่ 3) "ครั้งที่แล้วเราได้เรียนกันไปแล้วว่าทำไมต้องมีฝ่ายตุลาการ" อาจารย์เริ่มต้นด้วยการสรุปเนื้อหาคราวที่แล้ว "ถ้าไม่มีฝ่ายตุลาการ อำนาจ 'ตีความกฎหมาย' จะอยู่กับฝ่ายบริหาร ถึงแม้ฝ่ายบริหารทำผิดกฎหมาย ก็จะตีความตัดสินว่าตนเองไม่ผิด จึงต้องแยกอำนาจตีความกฎหมายออกมาเป็นอีกอำนาจหนึ่งคือเป็น 'ฝ่ายตุลาการ' เพื่อถ่วงดุล 'ฝ่ายบริหาร' ให้ใ...
นายปริญญา เทวานฤมิตรกุล อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เขียนบนความเกี่ยวกับทางออกของประเทศในภาวะที่เกิดความขัดแย้ง เผยแพร่ผ่านเฟซบุ๊คส่วนตัว ในหัวข้อ "รักษาระบอบประชาธิปไตย ไม่สูญเสียเลือดเนื้อ และหา "ทางออก" ภายใต้รัฐธรรมนูญ" มีเนื้อหาที่น่าสนใจ ดังนี้ สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในขณะนี้ผู้คนต่างก็ถามถึง "ทางออก" แล้ว "ทางออก" ยังมีอยู่หรือไม่? และถ้ายังมีอยู่ "ทางออก" นั...